บันทึกการเรียนรู้ครั้งที่ 3
วันจันทร์ที่ 17 กันยายน 2561 เวลา 15.30 - 17.30
วันจันทร์ที่ 17 กันยายน 2561 เวลา 15.30 - 17.30
" EF (Executive Function) ทักษะสมองเพื่อชีวิตที่สำเร็จ"
ทักษะสมอง EF คืออะไร?
คือความสามารถระดังสูงของสมองที่ใช้ในการควบคุมความคิด อารมณ์ และการกระทำ เพื่อไปให้ถึงเป้าหมาย (นพ.ประเสริฐ ผลิตผลการพิมพ์)
คือความสามารถระดังสูงของสมองที่ใช้ในการควบคุมความคิด อารมณ์ และการกระทำ เพื่อไปให้ถึงเป้าหมาย (นพ.ประเสริฐ ผลิตผลการพิมพ์)
องค์ประกอบของ EF
EF นั้นประกอบไปด้วยทักษะย่อยๆ หลายด้าน โดยจัดเป็น 3 กลุ่มทักษะ ได้แก่ กลุ่มทักษะพื้นฐาน กลุ่มทักษะกำกับตนเอง และ กลุ่มทักษะปฏิบัติ
(1) กลุ่มทักษะพื้นฐาน
1. จำเพื่อใช้งาน คือ จำข้อมูลที่มีความหมาย คิดเชื่อมโยงประสบการณ์เดิม ประมวลผลใช้งานต่อ
2. ยืดหยุ่นความคิด คือ ปับเปลี่ยนความคิดเมื่อเงื่อนไขเปลี่ยน คิดนอกกรอบ เห็นวิธีและโอกาสใหม่ๆ
(1) กลุ่มทักษะพื้นฐาน
1. จำเพื่อใช้งาน คือ จำข้อมูลที่มีความหมาย คิดเชื่อมโยงประสบการณ์เดิม ประมวลผลใช้งานต่อ
2. ยืดหยุ่นความคิด คือ ปับเปลี่ยนความคิดเมื่อเงื่อนไขเปลี่ยน คิดนอกกรอบ เห็นวิธีและโอกาสใหม่ๆ
3. ยั้งคิด ไตร่ตรอง คือ หยุด...คิดก่อนทำหรือพูด ชั่งใจ พินิจพิจารณา ยับยั้งความอยาก
(2) กลุ่มทักษะกำกับตนเอง
4. จดจ่อ ใส่ใจ คือ มุ่งใจจดจ่อ มีสมาธิต่อเนื่อง จดจ่ออย่างตื่นตัว
5. ควบคุมสถานการณ์ คือ จัดการอารมณ์ได้เหมาะสม มั่นคงทางอารมณ์ ไม่ใช้อารมณ์แก้ปัญหา แสดงออกอย่างเหมาะสม
6. ติดตาม ประเมินตนเอง คือ ทบทวนสิ่งที่ทำไป สะท้อนผลจากการกระทำของตนเองได้ แก้ไปรับปรุงให้ดีขึ้น
(3) กลุ่มทักษะกำกับตนเอง
7. ริเริ่ม ลงมือทำ คือ คิดริเริ่ม ตัดสินใจลงมือทำด้วยตนเอง ไม่ผัดวันประกันพรุ่ง
8. วางแผน จัดระบบดำเนินการ คือ ตั้งเป้าหมาย วางแผน จัดลำดับความสำคัญ จัดระบบ ดำเนินการ บริหารเวลาและทรัพยากร ประเมินผล
9. มุ่งเป้าหมาย คือ แรงจูงใจใฝ่สัมฤทธิ์ เกาะติดเป้าหมาย พากเพียรอุตสาหะ ฝ่าฟันอุปสรรค
ที่มา : พัฒนาทักษะสมอง EF (Facebook)
การนำ FE สู่ชั้นเรียน
7. ริเริ่ม ลงมือทำ คือ คิดริเริ่ม ตัดสินใจลงมือทำด้วยตนเอง ไม่ผัดวันประกันพรุ่ง
8. วางแผน จัดระบบดำเนินการ คือ ตั้งเป้าหมาย วางแผน จัดลำดับความสำคัญ จัดระบบ ดำเนินการ บริหารเวลาและทรัพยากร ประเมินผล
9. มุ่งเป้าหมาย คือ แรงจูงใจใฝ่สัมฤทธิ์ เกาะติดเป้าหมาย พากเพียรอุตสาหะ ฝ่าฟันอุปสรรค
ที่มา : พัฒนาทักษะสมอง EF (Facebook)
การนำ FE สู่ชั้นเรียน
ครูเองจะต้องทำความเข้าใจกับ FE อย่างจริงจังก่อนว่า คืออะไร มีทักษะหรือองค์ประกอบอะไรบ้าง จากนั้นก็เริ่มจากการจัดสภาพแวดล้อมให้เอื้อต่อการเรียนรู้ แน่นอนว่า EF ไม่ใช่นวัตกรรมทางการศึกษาแต่เป็นกระบวนการที่นำไปสอดแทรกกับกิจกรรมการศึกษา เพราะฉนั้นตัวครูเองจะต้องทำการออกแบบกิจกรรมให้เด็กเกิดทักษะ EF ในด้านต่างๆ ขึ้น หรือเมื่อเกิดปัญหาในห้องเรียน อย่างเด็กทะเลาะกัน ตัวครูเองจะต้องจัดการอย่างไรที่จะทำให้เด็กสามารถควบคุมอารมณ์ ยั้งคิด ไตรตรอง ตามทักษะ EF ได้
การประยุกต์ใช้
นำความรู้ที่ได้ไปวางแผนจัดกิจกรรม จัดสภาพแวดล้อม จัดการกับสถานการณ์ในห้องเรียนเพื่อพัฒนาทักษะสมองเมื่อเราเป็นครูในอนาคต
การประเมิน
ตนเอง : นำเสนอเนื้อหาที่จะใช้ในการสัมมนา
เพื่อน : นำเสนอเนื้อหาที่จะใช้ในการสัมมนา
อารจารย์ : อธิบาย ชี้แนะ แนะนำแนวทาง
นำความรู้ที่ได้ไปวางแผนจัดกิจกรรม จัดสภาพแวดล้อม จัดการกับสถานการณ์ในห้องเรียนเพื่อพัฒนาทักษะสมองเมื่อเราเป็นครูในอนาคต
การประเมิน
ตนเอง : นำเสนอเนื้อหาที่จะใช้ในการสัมมนา
เพื่อน : นำเสนอเนื้อหาที่จะใช้ในการสัมมนา
อารจารย์ : อธิบาย ชี้แนะ แนะนำแนวทาง
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น